Substance
การทำงานของสมอง กับ พัฒนาการ
- พัฒนาการ คือ การพัฒนาของสมองหรือการทำงานของสมอง สมองจะเชื่อมโยงความรู้เดิม และจะทำให้เกิดความรู้ใหม่
หลักการ/แนวคิดสู่การปฎิบัติจริง
กีเซล
- พัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนและขั้นตอน
- การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนไหว
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
- จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว การเคลื่อนที่ เช่น การเล่นกลางแจ้ง
- จัดกิจกรรมที่สร้างสรรค ฝึกการใช้มือและประสาทสัมผัสระหว่างมือกับตา
- จัดกิจกรรมให้เด็กฟังเพลง นิทาน
- ทำกิจกรรมเดี่ยวและกลุ่ม
ฟรอยด์
- ประสบการณ์วัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกของคนเรา เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
- ครูควรเป็นแบบอย่างที่ดี
- จัดกิจกรรมเป็นขั้นตอนจากง่ายไปยาก
- จัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียน เพื่อส่งเสริมพัฒนาบุคลิกภาพของเด็ก
อิริคสัน (Erikson)
- ถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เด็กพอใจ เด็กจะมองโลกในแง่ดีมีความเชื่อมันในตัวเอง
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบผลสำเร็จ พึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมของห้องเรียน เพื่อน ครู
- จัดบรรยากาศในห้องเรียน ให้เด็กมีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม
ดิวอี้ (Dewey)
- Learning by doing เรียนรู้ผ่านการกระทำ
การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
- จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้ความรัก ให้เวลา และให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสาทประสบการณ์จริง
สกินเนอร์ (Skinner)
- ถ้าเด็กได้รับคำชมเชยและประสบผลสำเร็จในการทำกิจกรรม เด็กก็จะสนใจทำต่อไป
เปสตาลอสซี่ (Pestalozzi)
- ความรักเป็นพื้นฐานสำคัญและจำเป็นต่อการพัฒนาการเด็ก
- เด็กไม่ควรถูกบังคับโดยการท่องจำ
เฟอเบล (Froeble)
- ส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามธรรมชาติ
เอลคายน์ (Elkind)
- การเร่งเด็กให้เรียนรู้แต่เล็กเป็นอันตรายต่อเด็ก
- เด็กควรมีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมการเล่นด้วยตนเอง
การเรียนรู้อย่างมีความสุข
การพัฒนาการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
- การเรียรู้จากการคิดและการปฏิบัติ
- การเรียนรู้แบบองค์รวมที่ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน
สรุป
- พัฒนาการเด็กให้ครบทุกด้าน พัฒนาการเน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมที่จัดต้องมีความสมดุล ยึดเด็กเป็นสำคัญ และต้องประสานสัมพันธ์กับครอบครัวและชุมชน ครอบครัวมีความสำคัญต่อการส่งเสริมและพัฒนาการเด็ก
การเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง
- การเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง
- เรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
- พัฒนาทักษะการสังเกต การเปรียบเทียบ การจำแนก
- กิจกรรมโครงการ กิจกรรมประจำวัน การเล่น กิจกรรมการทดสอบ
การเรียนรู้แบบองค์รวม
- กิจกรรมที่จัดสอดคล้องกับประสบการณ์ที่ได้รับ
- ครูผู้สอน เด็กควรหลอมรวมหรือเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน
- ประสบการณ์ต่าง ๆ สัมพันธ์กันในลักษณะบูรณาการ
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- การเปลี่ยนแปลง
- ความแตกต่าง
- การปรับตัว
- พึ่งพาอาศัยกัน
- ความสมดุล
การศึกษาวิทยาการวิทยาศาสตร์
- ขั้นกำหนดปัญหา
- ขั้นตั้งสมมติฐาน
- ขั้นรวบรวมข้อมูล
- ขั้นสรุปข้อมูล
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- ความอยากรู้อยากเห็น
- ความเพียรพยายาม
- ความมีเหตุผล
- ความซื่อสัตย์
- ความมีระเบียบและรอบคอบ
- ความใจกว้าง
นำเสนอบทความ
- เลขที่ 1 เรื่อง วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา เช่นการสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบ
- เลขที่ 2 เรื่อง สอนลูกเรื่องปรากฎการธรรมชาติ การเรียนรู้ทางปรากฎการณ์ธรรมชาติ ส่งเสริมพัฒนาการด้านต่าง ๆ การค้นพบ การอธิบาย ปฏิบัติ จำแนก เปรียบเทียบ
- เลขที่ 3 เรื่อง แนวทางการสอนคิดเติมโจทย์ให้กับเด็กอนุบาล
เทคนิคการสอน (Technical Education)
- อาจารย์ใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย โดยใช้ Power Point สรุปความเข้าใจง่าย
- มีการถาม-ตอบ ในประเด็นที่เรียน
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
- Has been ask and answer skill
- Has been critical thinking skill
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
- สามารถนำความที่เกี่ยวกับทฤษฎีไปใช้ในด้านการจัดประสบการณ์ และการเรียนการสอน ให้กับเด็กได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับพัฒนาการ
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
- อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา ใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย น้ำเสียงที่ใช้น่าฟัง แต่งกายเรียบร้อย เป็นตัวอย่างที่ดีแก่นักศึกษา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น